ในทางสังคมวิทยาแบ่งชุมชนออกเป็น 2 แบบ คือ ชุมชนชนบท (Rural) และเมือง (Urban) และ ราชบัณฑิตยสถาน (2524: 316,408) ได้ให้ความหมายของคำว่า ชนบทและเมืองไว้ดังนี้
1.ชนบท หมายถึง ส่วนที่อยู่นอกเขตเมืองหรือเขตเทศบาล มีประชากรที่เลี้ยงชีพด้วยการเกษตรกรรมเป็นสำคัญ มีระเบียบสังคมที่สอดคล้องกับลักษณะชุมชนแบบหมู่บ้าน ตั้งบ้านเรือนเป็นกลุ่มก้อน หรือกระจัดกระจายตามลักษณะภูมิประเทศหรือตามประเพณีนิยม
2.เมือง เป็นชุมชนแบบหนึ่ง เช่น ในสหรัฐอเมริกา ชุมชนเมือง ก่อน พ.ศ. 2453หมายถึงเขตที่มีจำนวนประชากรตั้งแต่ 8,000 คนขึ้นไป แต่หลังจากปี พ.ศ. 2453 หมายถึงเขตที่มีจำนวนประชากรตั้งแต่ 2,500 คนขึ้นไป ส่วนในประเทศไทยกำหนดให้เขตเทศบาล ที่มีจำนวนประชากรตั้งแต่ 10,000 คนขึ้นไป เป็นเขตเมือง
จิงค่ะ เพราะปัจจัยทางด้านการศึกษาของคนในเมืองนั้น มีการศึกษาที่ดีกว่า และมีบุคลากรที่สมบูรณ์แบบกว่า ส่วนการศึกษาของชนบท บุคลากรก้อน้อยกว่า แถวยังมั่ยค่อยมีอุปกรณ์การสอนที่มีประสิทธิภาพแบบสังคมเมือง
ตอบลบจิง เพราะในเมืองมีเทคโนโลยีในการเรียนการสอนที่ดีกว่าชนบทเยอะเลย
ตอบลบอาจจะจริงเพราะ ส่วนใหญ่ก็เห็นคนที่มีการศึกษาน้อยมักจะอยู่ตามชนบท แต่นั่นก็ไม่ได้หมายความว่า คนที่อยุ่ในชนบทจะมีการศึกษาน้อยไปซะทุกคน อาจเป็นเพราะเค้ามีปัจจัยหลายๆอย่างที่ทำให้พวกเขาเหล่านั้นต้องจบในระดับการศึกษาที่น้อย เช่น ปัจจัยด้านครอบครัว ด้านเงินทอง หรือระบบการศึกษาที่ทันสมัยยังเข้าไม่ถึงสถานที่ที่พวกเขาอยู่ก็เท่านั้น
ตอบลบผมว่าจริงน่ะเพราะว่าถ้าสังคมชนบทมีการศึกษาที่ดีจริง ถ้าพัฒนาเทียบเท่าสังคมเมืองแล้ว ลูกหลานที่เติบโตขึ้นมาคงไม่ต้องดิ้นรนที่จะเข้ามาศึกษาในสังคมเมือง
ตอบลบอาจจะจิง เพราะการศึกษาของเด็กชนบทอาจไม่ทัดเทียมกับเด็กในเมือง เนื่องจากยังขาดบุคลากร ขาดเทคโนโลยีในการเรียนการสอน ซึ่งสาเหตุเหล่านี้ทำให้เด็กในชนบทต้องดิ้นรนไปเรียนกันในเมือง เพราะในเมืองมีความพร้อมหลายๆด้าน
ตอบลบโดยส่วนตัวแล้วคิดว่าจริง เพราะถ้าคนใดไม่ได้เรียนหนังสือก็จะรู้ไม่เท่าทันเหตุการณ์ต่าง ๆ และไม่เท่าทันคนอื่น ๆ จึงทำให้ถูกมองว่าเป็นพวกบ้านนอก ไม่ได้เรียนหนังสือ
ตอบลบจริงค่ะ การศึกษาในชนบทอาจจะไม่ค่อยมีมาตรฐาน เนื่องจากเป็นเพราะปัจจัยทางด้านเทคโนโลยีและบุคคลากร ทำให้การศึกษาของสังคมชนบทดูด้อยกว่าสังคมเมือง
ตอบลบจริง เพราะว่าเด็กในเมืองมีเทคโนโลยีมากกว่าในชนบท
ตอบลบจึงอาจจาทามให้ไม่ค่อยทันเด็ก ในเมืองมากหนัก